ตราประจำจังหวัดต่าง ๆ ในประเทศไทย
รูปกระบี่ไขว้ เบื้องหลังเป็นรูปภูเขาและทะเล
รูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณเป็นสีเขียว ตามแบบภาพฝีพระหัตถ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์
รูปด่านพระเจดีย์สามองค์
รูปติณชาติ (หญ้า) กาฬสินธุ์ (บึงน้ำสีดำ) ภูเขา และเมฆ
รูปกำแพงเมืองมีใบเสมาประดับเพชร
รูปพระเจดีย์ก่อไว้บนตอไม้ หมายถึง พระธาตุขามแก่น
รูปกระต่ายในดวงจันทร์
รูปพระอุโบสถหลังใหม่วัดโสธรวรารามวรวิหาร
รูปเขาสามมุกริมทะเลอ่าวไทย
รูปธรรมจักรหน้าภูเขา ซึ่งหมายเอาได้ทั้งเขาสรรพยาและเขาธรรมามูล
รูปธงสามชายอันเป็นธงชัยประจำกองทัพสมัยโบราณ
รูปเทวสตรียืนประทานพรหน้าค่าย มีต้นมะเดื่อขนาบอยู่ 2 ข้าง
รูปกระโจมไฟ ท่าเรือ และลูกคลื่นในท้องทะเล
รูปโป๊ะ เรือใบ และเกาะช้าง
รูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงหลั่งทักษิโณทกเหนือคอช้าง
รูปช้างชูรวงข้าว เบื้องหลังเป็นลอมฟาง
รูปพระปฐมเจดีย์ ประดับด้วยเครื่องหมายเลข 4 ไทยในพระมหาพิชัยมงกุฎ
รูปพระธาตุพนม
รูปอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีหน้าประตูชุมพล
รูปพระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช มีตรา 12 นักษัตรล้อมรอบ
รูปวิมาน 3 ยอด
รูปหม้อน้ำดินเผาลายวิจิตร หมายถึง ชาวนนทบุรีมีอาชีพทำเครื่องปั้นดินเผาซึ่งมีชื่อเสียงมาช้านาน
รูปเรือกอและกางใบแล่นรับลมเต็มที่ ภายในใบเรือเป็นรูปช้างเผือกทรงเครื่องคชาภรณ์ รูปช้างนั้นหมายถึงพระศรีนรารัฐราชกิริณีฯ ช้างสำคัญซึ่งนราธิวาสได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อ พ.ศ. 2520
รูปพระธาตุแช่แห้งบนหลังโคอุสุภราช
รูปภูทอก บึงโขงหลง และต้นไม้
รูปเทพยดาฟ้อนรำหน้าปราสาทหินพนมรุ้ง
รูปบัวหลวงและช่อรวงข้าวชูช่อเหนือน้ำ
รูปพระที่นั่งคูหาคฤหาสน์ และมีภาพเกาะหลักอยู่เบื้องหลัง
รูปต้นพระศรีมหาโพธิ์
รูปปืนใหญ่ศรีปัตตานีหรือนางพญาตานี
รูปสังข์ทักษิณาวัตร ประดิษฐานบนพานแว่นฟ้าในปราสาทใต้ต้นหมัน
รูปพระเจ้าตนหลวงวัดศรีโคมคำ ประทับเหนือกว๊านพะเยา มีช่อรวงข้าวประดับอยู่สองข้าง เบื้องบนมีลายกนกเปลว 7 ลายลอยอยู่
รูปเรือขุดเหมือง เขารูปช้าง และเกาะตาปู
รูปเขาอกทะลุ
รูปต้นโพธิ์ริมสระหลวง
รูปพระพุทธชินราช พระคู่บ้านคู่เมืองพิษณุโลก
รูปอนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร วาดจากของจริง
รูปทุ่งนาและต้นรัง มาจากชื่อเมืองมหาสาลคาม (หมายถึงหมู่บ้านต้นรังใหญ่) ซึ่งสะกดเพี้ยนมาเป็นมหาสารคามในปัจจุบัน
รูปปราสาทสองนางสถิต ประดิษฐานแก้วมุกดาหาร
รูปคนงานทำเหมืองดีบุก
รูปพระธาตุอานนท์ พระธาตุคู่บ้านคู่เมืองในวัดมหาธาตุ มีสิงห์ขนาบสองข้าง มาจากชื่อที่ตั้งเมืองเมื่อแรกสร้างคือบ้านสิงห์ท่า รูปดอกบัวบานหมายถึงยโสธรแยกมาจากอุบลราชธานี รัศมีบนยอดแปดแฉกหมายถึงอำเภอทั้งแปดของ
รูปปราสาทตั้งอยู่บนภูเขา มีรูปเลข 5 ไทย ประดิษฐานอยู่บนพานแว่นฟ้า
รูปพลับพลาที่ประทับของรัชกาลที่ 5 บนเกาะเสม็ด
รูปเครื่องราชกกุธภัณฑ์ 2 ชนิด คือ ฉลองพระบาทเชิงงอนและพระแสงขรรค์ชัยศรี
รูปศาลหลักเมืองบนเกาะกลางบึงพลาญชัย เบื้องหลังเป็นรูปพระมหาเจดีย์ชัยมงคล โดยมีกรอบวงกลมเป็นรูปรวงข้าวล้อมรอบ
รูปพระนารายณ์สี่กร ประทับยืนหน้าพระปรางค์สามยอด
รูปไก่ ยืนอยู่ในประตูมณฑปวัดพระธาตุลำปางหลวง
รูปพระบรมธาตุหริภุญไชย
รูปปรางค์กู่ มีดอกลำดวน 6 กลีบรองรับอยู่เบื้องล่าง
รูปพระธาตุเชิงชุม หน้าหนองหานหลวงและดอนสวรรค์
รูปขอนสังข์วางอยู่บนพานแว่นฟ้า
รูปพระสมุทรเทวาประทับนั่งบนแท่นหิน เบื้องหลังเป็นพระอาทิตย์อัสดง
รูปพระสมุทรเจดีย์
รูปกลองลอยน้ำ
รูปสำเภาจีนในแม่น้ำท่าจีน
รูปมณฑปพระพุทธบาทสระบุรี
รูปพระพุทธรูปปางสรงสรีระ ประทับยืนบนดอกบัว ด้านหลังเป็นภาพพระอาทิตย์ยามรุ่ง ตอนกลางเป็นภาพปราสาทเขาน้อยสีชมพู
รูปอนุสาวรีย์วีรชนค่ายบางระจันในวงกลม ขอบวงกลมเป็นแถบสีธงชาติ
รูปการทำยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชมังกะยอชวาที่ตำบลหนองสาหร่าย เมื่อ พ.ศ. 2135
รูปพระบรมธาตุไชยา
รูปพระอินทร์ประทับบนแท่นศีรษะช้างเอราวัณ หน้าปราสาทหินศีขรภูมิ
รูปพ่อขุนรามคำแหงมหาราชประทับบนพระแท่นมนังคศิลาอาสน์
รูปกอไผ่ริมหนองน้ำ
รูปพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประทับยืนหน้าศาล เบื้องหลังเป็นหนองบัวลำภู
รูปพระมงคลมิ่งเมือง พระพุทธรูปสำคัญประจำ
รูปท้าวเวสสุวัณหรือท้าวกุเวร เทพเจ้าประจำทิศเหนือ
รูปมณฑปประดิษฐานพระแท่นศิลาอาสน์ มีลวดลายกนกประกอบ
รูปศาลสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก เบื้องหลังคือเขาสะแกกรัง
รูปดอกบัวบานชูช่อพ้นน้ำ
รูปรวงข้าวในอ่างน้ำสีทอง
รูปช้างสีขาวกับเมฆ ลายที่ขอบตรามีรูปนาคเกี้ยว
รูปช้างเผือกยืนอยู่ในเรือนแก้ว
รูปทุ่งนา ต้นตาลโตนด และพระนครคีรีหรือเขาวัง
รูปเพชรกับภูเขาและไร่ยาสูบ
รูปพระธาตุศรีสองรัก เบื้องหลังเป็นทิวเขา
รูปพระธาตุช่อแฮบนหลังม้า
รูปช้างเล่นน้ำ
เรื่องใกล้เคียง